2007年7月20日金曜日


สารบัญ
ชาวอำเภอป่าแดดก็เหมือนชาวเหนือทั่ว ๆ ไป คือเมื่อมีคนตายขึ้นมาก็มักจะมาร่วมกันที่บ้าน(ชาวเหนือจะนำศพไว้ที่บ้านไม่ว่าจะตายแบบไหนจะไม่ไว้ที่วัดเพราะเชื่อว่าวัดเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์)ของผู้ตายตั้งแต่ทราบว่ามีการตายเกิดขึ้นหรือาจจะมาตั้งแต่ก่อนจะสิ้นลมเพื่อมาขออโหสิกรรมจากผู้ตาย โดยอาจทราบจากวิทยุกระจายเสียงของผู้ใหญ่บ้านหรือจากชาวบ้าน�! �กล้เคียง(กรณีที่ตายในบ้าน) และอาจมาร่วมกันเมื่อศพมาถึงที่บ้าน (กรณีตายนอกบ้าน)ถ้าเป็นการตายโหงจะมีฑิธีกรรมการเรียกขวัญ การตัด การทำตุงแดงไหปักไว้บริเวณที่ที่คนตายได้ประสบเหตุ การสวดอภิธรรมมักสวดกัน 3-7 คืนชาวบ้านหรือคนรู้จักก็จะนำพวงหรีดมาไว้หน้าศพแล้วแต่อายุและฐานะของผู้ตาย บางทีอาจไว้ถึง 100 คืนก็ได้เมื่อถึงเวลากินข้าวตามปกติ(3เมื้อ)เจ้าภาพ�! ��ะจัดสำรับเล็ก ๆ และเคาะเ บา ๆ เรียกให้คนตายหรือวิญญาณมากินข้าวโดยวางไว้บนหัว(เชื่อว่าคนตายยังไม่รู้ว่าตนตายแล้วยังคงต้องกินเมือนเดิม)มีรูปผู้ตายไว้หน้าโลง ส่วนดนตรีอาจจะเปิดเทป CD หรือถ้ามีฐานะหน่อยก็จะจ้างเป็นวงสะล้อซึง หรืวงพาทย์ฆ้องล้านนามาบรรเลงสด คืนแรกอาจะเงียบเหงาบ้างเพราะเจ้าภาพยังไม่พร้อมหรือข่าวการตายยังรู้กันไม่ทั่วสวนคืนต่อมาอาจมีคนมามาในงานจำนวนมา! ก ภายในงานมักเลี้ยงแขกด้วยขนม เมล็ดทานตะวัน นม โกโก้ กาแฟ เมี้ยง บุหรี่ หรืออาหารหลังพระสวดเสร็จอันี้ก็ขึ้นอยู่กับฐานะของเจ้าภาพ จากนั้นแขกภายในงานก็จะนั่งคุยหรือปลอบเจ้าภาพก่อนจะกลับบ้าน จะมีแขกบางส่วนหรือชาวบ้านที่ต้องเวียนกันนอนเป็นเพื่อเจ้าภาพในงานทุกคืน บ้างก็หาเกมมาเล่นกันแก้เหงา เช่านไฮโล ไพ่ และเปิด CD ดูกัน ก่อนวันสุดท้ายช่วงเช้าลู! กหล้านผู้ชายก็จะโกลนหัว� ��วชให้ผู้ตาย คืนสุดท้ายของงานศพจะถูกนำมาใส่ปราสาท(ปัจจุบันอาจใช้ศาลาแทนก็ได้)ที่ถูกประดัยด้วยดอกไม่หลอดไฟ เล็ก ๆ อย่างสวยงานที่ตั้งไว้นอกบ้าน มีบ้านหรือเรือนที่ทำจากไม้ต่าง ๆ ซึ่งเรียกว่าเรือนทาน (อ่านว่าเฮือนตาน)(ปัจจุบันอาจใช้เต็น หรือนำอิฐบ็อกมาเรียงเป็นบ้านนำกระเบื้องวางเป็นหลังคาฉย ๆก็ได้)ทางหลังพอดีที่จะใส่ของใช้ผู้ตายทั้งหมดประดับด�! �วยตุงใส้ช้าง ให้งดงามมีการทำเป็นรั้วเป็นกรอบว่านี่คือบ้านของคนตายไว้ข้าง ๆ มีตุง สามหาง 7 สี 7 ศอก ปักไว้บริเวณปราสาทและเรือนทาน มีตุงสามหาง ที่ทำด้วยความปราณีต ปักไว้ตลอดทางเข้างาน(ถ้ามีฐานะจะทำและใครอยากรู้ว่าผู้ตายจะเกิดเป็นอะไรในชาติหน้าให้เอาขี้เถ้าหรือแป้งมาร่อนใส่ถาแล้ววางไว้บริเวณันไดหรือหน้าทางเข้าเรือนทาน บางทีก็วางไว้หน้าสำรับ�! �ี่เตรียมไว้ให้ผู้ตายขึ้ นมากิน บางทีก๊เห็นรอยเท้าของสัตว์ต่าง ๆ หรือรอยเท้าคนเล็ก ๆ ชาวบ้านเชื่อว่าเป็นของผู้ตาย)และจะมีเครืองต้นเทียนต้นดอก ต้นธูป ฯลฯ(เชื่อว่าผู้ตายจะนำไปไหว้พระธาตุบนสวรรค์)พออีวันชาวบ้านจะมารวมกันจำนวนมากเพื่อจะไปส่งศพที่ป่าช้า(สุสาสนหรือป่าช้าคนเหนือจะไม่อยู่ที่วัดเหมือนคนภาคกลางและจะไม่อยู่ใกล้บ้านคนเพราะเชื่อว่าคนกับผีไม่ควรอยู่ด้วยกัน)�! �อบ่าย จะเริ่มเคลื่อนศพออกจากบ้านโดยมีสัปเหร่อถือตุงรูปคนมี 3 หาง(เชื่อว่าเป็นคนนำทางผู้ตาย) เดินนำหน้าไป ตามด้วยพระผู้ใหญ่อาจนิมนต์ท่านนั่งบนแท่นแล้วหามท่านนำขบวนไปท่าจะถือด้าย ต่อด้วยลูกหลานที่บวชเป็นพระ ญาติพีน้อง ชาวบ้าน ลากปราสาท (ปัจจุบันใช้รถแต่ก็ทำเป็นลากเพื่เอาเคล็ด)โดยผู้ไปส่งศพจะทำด้ายหรือเชือกขาดเป็นอันขาด หรือถ้าขาดก็ห้ามทักแ�! �ะนำมือกำเชื่อมต่อทำเป็น ว่าเชืกยังเหมือนเดิมปกติ ส่วนลูกหลานญาติพี่น้องที่เหลือจะถือกระถางธูปและรูปผู้ตายอยู้ข้าง ๆ ปราสาท ตลอดทางจะจุดประทัดเป็นช่วง ๆ พร้อมกับโปรยมะนาวผ่ากลาง(ผ่าไม่ขาดปัจจุบันอาจห่อด้วยกระดาษเงินกระดาษทองแทนเพราะมะนาวมีราคาแพง แต่ต้องมีมะนาวปนอยู่บ้างเพื่อเป็นเคล็ด)ที่ใส่เงินในนั้นและอาจจะเขียนอายุ บ้าน ที่ดิน รถ ฯลฯ ไว้ข้างในเพื่อเมื่อไปถุงป! ่าช้าจะมีการมอบทุนให้กับส่วนต่าง ๆ ผู้เก็บมะนาวที่มีข้อความในนั้นได้เจ้าภาพก็จะขอซื้อคืนจากผู้เก็บได้(โดยเฉพาะเด็กและคนแก่ ส่วนนั้นแย่งกันเพราะต้องการเงินส่วนคนแก่เก็บเพื่อเชื่ว่ามะนาวนั้นเป็นยารักษาโรคได้)เมื่อถุงในงานชาวบ้านที่เป็นผูชายก็จะช่วยกันยกโลงและปราสาทขึ้นตะกอนเจ้าภาพกับญาติและชาบ้านการถ่ายภาพครั้งสุดหน้าปราสามฃทศพ สัปเห�! ��่อล้างหน้ผู้ตายด้วยมะพ� �้าว มีการอ่านประวัติผู้ตาย มีการซอ(การร้องเพลง)กล่าวเกี่ยวกับคุณงามความดีของผูตายผู้ตายด้วยทำนองเศร้าสร้อยทำให้คิดถึงผู้ตายก่อนจะจุดไฟเผาดนตรีบรรเลงครั้งสุดเจ้าภาพและชาวบ้านวางดอกไม้จันทร์ เจ้าภาพจุดพุลูกหนู วิ่งไปสู่ปราสาทมีพยิงขึ้นฟ้าพุน้ำตกไหลลงไหม้ปราสาทเจ้าภาพแจกของที่ระลึกเมื่อถึงบ้าเจ้าภาพจัดงานขึ้นบ้านใหม่ให้คนตาย(เรือนทาน)อ�! �กวันเก็บกระดูก ตกกลางคืนกินเลื้องต้อนรับวิญญาณผู้ตายที่จะกลับมาที่ต่าง ๆ ที่เคยไป เพื่อเก็บรอยเท้าของตน ก่อนเข้านอนประมาณเที่ยงคืนคนในงานต้องตะโดนออกไปนอบ้านเพื่อบอกว่าที่นี่ยินยดีต้อนรับวิญญาณผู้ตายเป็นว่าเสร็จสิ้นงานสพ จะทำบุญกันอีกวันก็เมื่อครบร้อยวันการตายของผู้ตาย


ความเชื่อเรื่องการตาย
เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย

สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย
สารนุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ

0 件のコメント:

易赚 28cash